
หลักการและเหตุผล (Introduction)
สมรรถนะหรือ Competency คือรูปแบบความรู้ ความสามารถ ทักษะ คุณลักษณะและพฤติกรรม ที่ทำให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถทำงานให้องค์กรได้อย่างสมบูรณ์ หากองค์กรมีการกำหนด Competency หลัก รวมทั้ง Competency ในงานอย่างถูกต้อง ชัดเจน และเหมาะสม รวมทั้งมีการสื่อสารทั่วทั้งองค์กร จะทำให้ผู้ปฏิบัติงานทุกระดับมีความเข้าใจที่ตรงกัน ทั้งผู้ปฏิบัติงานและองค์กรสามารถร่วมกันพัฒนาและส่งเสริมสมรรถนะที่ต้องการ ให้ตรงกับวัตถุประสงค์ที่วางไว้ เพื่อให้ผลการปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น สร้างความสำเร็จให้กับองค์กรในทุกด้าน
วัตถุประสงค์ (Objective)
1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้เรียนรู้และเข้าใจ Competency ประเภทต่างๆ
2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้เรียนรู้แนวทางการวิเคราะห์และกำหนด Competency ในแต่ละงาน
3. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงานจริง สามารถจัดทำ Competency และนำมาประยุกต์ใช้ในงานพัฒนาบุคลากรได้
เนื้อหาการบรรยาย (Key Contents)
1. ความหมาย คุณลักษณะ และประเภทของ Competency
2. ผู้ที่เกี่ยวข้องในการกำหนด Competency และประโยชน์ของ Competency
3. การกำหนด Competency ประเภทต่างๆ
3.1 Core Competency
3.2 Managerial Competency
3.3 Functional Competency หรือ Job Competency
4. ขั้นตอนการวิเคราะห์เพื่อจัดทำ Competency
4.1 การกำหนด Core Competency
· จำนวน Core Competency
· สำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหาร
· ประชุมอภิปรายเพื่อกำหนด Core Competency
· กำหนดแนวทางในการสื่อสาร และการนำไปใช้
4.2 การจัดทำ Managerial Competency และ Functional หรือ Job Competency
· กำหนดความคาดหวังของงานในตำแหน่งงาน หน้าที่ ความรับผิดชอบหลัก บทบาท
· วิเคราะห์ Knowledge Skill Attribute
· ระบุ KSA ในการตาราง Competency ของตำแหน่งนั้น
· ตรวจสอบความถูกต้อง
5. หลักเกณฑ์การแบ่ง Competency แต่ละระดับ
Workshop
6. การนำ Competency มาใช้ในงานพัฒนาบุคลากร
6.1 การคัดเลือกพนักงาน
6.2 การประเมินผลการปฏิบัติงาน
6.3 การฝึกอบรมพัฒนาบุคลากร
6.4 การประเมินผู้สืบทอดตำแหน่ง
6.5 การบริหารผลตอบแทน
Workshop
7. ปัญหาในการนำ Competency มาใช้และแนวทางแก้ไข
สรุปประเด็นการเรียนรู้
คุณสมบัติผู้เข้าอบรม (Target Participants) เจ้าหน้าที่ หัวหน้างาน ผู้จัดการ ฝ่าย HR และหัวหน้างาน ผู้จัดการหน่วยงานต่างๆ
รูปแบบการอบรม (Methodology)
บรรยายพร้อมการเรียนรู้ในลักษณะเน้นผู้เรียนเป็นจุดศูนย์กลาง โดยให้มีส่วนร่วมผ่านกิจกรรม Workshop ต่างๆ เช่น Brain storm, Role Play, Group sharing โดยใช้แนวทางการโค้ชและการเรียนรู้แบบมีปฏิสัมพันธ์กันระหว่างผู้เรียน เพื่อฝึกการคิด การระดมสมอง การลองปฏิบัติ อันจะนำไปสู่การเข้าใจองค์ความรู้แบบเข้าใจด้วยตนเองและนำไปประยุกต์ได้ สัดส่วนการบรรยายและปฏิบัติ 60 : 40
วิทยากร อาจารย์ชัญญชิตา ศรีชัย
ประสบการณ์ทำงานรวมกว่า 20 ปี โดยดำรงตำแหน่งเป็นผู้จัดการและผู้บริหารในบริษัทญี่ปุ่น อเมริกา และไทย โดยทำงานทั้งส่วน HRM, HRD, Knowledge Management และ Organization Development ประสบการณ์ในโรงงานอุตสาหกรรมที่หลากหลาย ทั้งกลุ่มอิเลคทรอนิกส์ ยานยนต์ อุปกรณ์สำนักงาน ธุรกิจโทรคมนาคม ธุรกิจ Oil & Gas และอุตสาหกรรมอาหาร ดำรงตำแหน่ง Manager, SR.Manager HRBP, และ HR Director มีความถนัดในงาน HR Generalist และมีความเชี่ยวชาญใน Corporate Communication, Employee Engagement, Employee Relation, Training & Development และ Performance Management System
การศึกษา
- ปริญญาโท สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สาขาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน
- ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สาขาการบริหารทรัพยากรมนุษย์
- ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ เอกประวัติศาสตร์ โทภาษาอังกฤษ
กำหนดการ
|
วันที่ 29 มิถุนายน 2565
|
บุคคลทั่วไป
|
3,900 + 273 = 4,173
|
เวลา
|
09.00-16.00 น.
|
สมาชิก, โอนเงินก่อน 23 มิ.ย.2565
|
3,500 + 245 = 3,745
|
สถานที่
|
โรงแรมโนโวเทล สุขุมวิท 20
|
สมัคร 3 คนขึ้นไป ท่านละ 3,200
|
3,200 + 224 = 3,424
|
สมัคร 5 คนขึ้นไป ท่านละ 2,900
|
2,900 + 203 = 3,103
|
หมายเหตุ - ค่าลงทะเบียนเข้าร่วมสัมมนาสามารถนำไปลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลได้ 200%
- ราคารวมเอกสารประกอบการสัมมนา, อาหารกลางวัน, น้ำชา-กาแฟ
กรุณดาวน์โหลดหลักสูตรและใบลงทะเบียนที่นี่ หรือกรอกข้อมูลในแบบฟอร์มด้านล่างเพื่อลงทะเบียน