การบริหารความความเสี่ยงขององค์กรตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล PDPA
ReadyPlanet.com
dot dot
bulletIn-house Training
bulletบริการจัดกิจกรรม Walk Rally
dot
ค้นหาหัวข้อ/หลักสูตรต่างๆ

dot
bulletวิทยากร
ค่าอบรมสัมมนาลดหย่อนภาษี 200%
dot
ใส่อีเมล์เพื่อรับข่าวสารสัมมนา

dot
dot
สถานที่จัดสัมมนา
dot
bulletโรงแรมเซนต์เจมส์ สุขุมวิท 26
bulletโรงแรมอไรซ์ สุขุมวิท ซ.26
bulletโรงแรมจัสมินซิตี้ สุขุมวิท ซ.23
bulletโรงแรมแกรนด์ สุขุมวิท ซ.4-6
bulletโรงแรมบูเลอวาร์ด สุขุมวิท ซ.5
bulletโรงแรมฮิป ซ.เนียมอุทิศ
bulletโรงแรมเดอะ พาลาซโซ
bulletแผนที่โรงแรมโกลด์ ออร์คิด
bulletศูนย์ประชุม เดอะคอนเน็คชั่น
bulletโรงแรมโนโวเทล สุขุมวิท ซ.20
bulletโรงแรมเอส 31 (สุขุมวิท 31)
bulletโรงแรม HOLIDAY INN BANGKOK
bulletโรงแรมโนโวเทล กรุงเทพ แพลทินัม ประตูนั้ำ
bulletโรงแรม Rembrandt Hotel & Suites, Bangkok
bulletโรงแรมเมอเวนพิค สุขุมวิท 15 กรุงเทพฯ
dot
สมัครสมาชิก
ชื่อผู้ใช้ :
รหัสผ่าน :
เข้าสู่ระบบอัตโนมัติ :
bullet ลืมรหัสผ่าน
bullet สมัครสมาชิก
dot
สมาชิกใหม่
สมาชิกใหม่ขณะนี้ คน
สมาชิกที่ Log in อยู่
ยังไม่มีสมาชิกที่ล็อกอินในขณะนี้
bulletบุคคลทั่วไป 45 คน
dot
หนังสือวรรณศิลป์/สมิต สัชฌุกร
หนังสือข้อคิดควรคำนึง/สมิต สัชฌุกร
รับสมัครวิทยากร
bulletหลักสูตร Public Training


บริการจัด Walk Rally, In-house Training ราคาพิเศษ
บริการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์
ค้นหาราชกิจจานุเบกษา

รูปแบบใหม่ของการทำกิจกรรม Outing และ Training
สัมมนาวิญญูชน
วิดีโอบรรยากาศการสัมมนา ของ เคเอ็นซี เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์
สแกนเพื่อติดต่อเคเอ็นซีทาง Line


8 มิถุนายน 2566...การบริหารความความเสี่ยงขององค์กรตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล PDPA

  การบริหารความความเสี่ยงขององค์กรตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล PDPA

 หลักการและเหตุผล

          ในปัจจุบันการบริหารความเสี่ยงด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศอ้างอิงจากมาตรฐานการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ ISO/IEC 27005:2018 Information technology — Security techniques — Information security risk management ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) จำเป็นต้องศึกษาบริบทขององค์กร (Context Establishment) เสียก่อน โดยการทำความเข้าใจองค์กรและบริบทขององค์กร ตลอดจนการทำความเข้าใจความต้องการและความคาดหวังผู้มีส่วนได้เสีย

          หากเป็นมุมมองการบริหารความเสี่ยงด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศจะเน้นไปที่การบริหารความเสี่ยงเพื่อดำรงรักษาไว้ซึ่งหลักการในการบริหารความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศได้แก่การธำรงไว้ซึ่งความลับ (Confidentiality) ความถูกต้องครบถ้วน (Integrity) และสภาพพร้อมใช้งาน (Availability) ซึ่งมีความแตกต่างเกี่ยวเนื่องกับมุมมองด้านการบริหารความเสี่ยงในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลซึ่งเป็นการบริหารความเสี่ยงเพื่อให้สอดคล้องกับหลักการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล อ้างอิงจากองค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (OECD) ได้แก่การจัดเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลอย่างจำกัด (Collection Limitation) คุณภาพของข้อมูลส่วนบุคคล (Data Quality) การระบุวัตถุประสงค์ในการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล (Purpose specification) การใช้ข้อมูลส่วนบุคคลอย่างจำกัด (Use Limitation) การมีมาตรการในการรักษาความมั่นคงปลอดภัย (Security Safeguard) การเปิดเผย (Openness) การมีส่วนร่วมของบุคคล (Individual Participation) และความรับผิดชอบ (Accountability) โดยขอบเขต (scope)

          ในการบริหารความเสี่ยงควรครอบคลุมข้อมูลส่วนบุคคลในส่วนของการทำและการจัดเก็บบันทึกรายการประมวลผลข้อมูล (Record of Processing Activities) เนื่องจากผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล (Data Controller) และผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล (Data Processor) มีหน้าที่ในการป้องกันข้อมูลส่วนบุคคลไม่ให้รั่วไหว จนทำให้เกิดการเปิดเผยข้อมูลของเจ้าของข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุญาตและไม่ได้รับการยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล (Data Subject)

การบริหารความเสี่ยงด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์และการบริหารความเสี่ยงในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลมีความสัมพันธ์กัน ดังรูปที่ 1โดยองค์กรอาจมีการบริหารความเสี่ยงด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ครอบคลุมทั้งข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลที่มีความสำคัญอื่นๆ ขององค์กรและในการบริหารความเสี่ยงในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลองค์กรต้องมีการบริหารความเสี่ยงในเรื่องอื่นๆ นอกเหนือจากเรื่องความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์

รูปที่ 1 : ความสัมพันธ์ของความเสี่ยงด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์และความเสี่ยงด้านการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

นอกจากนี้การคำนึงถึงรายละเอียดในขั้นตอน Context Establishment ก่อนขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) อ้างอิง ISO/IEC 27005:2018 (ดังรูปที่ 2) มีการกำหนดเกณฑ์ เกณฑ์ดังนี้

 

รูปที่ 2 : ISO/IEC 27005:2018 – context establishment phase

 วัตถุประสงค์

·       เพื่อให้ทราบความสำคัญและแนวคิดของ พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 ที่เกี่ยวกับหน่วยงานในองค์กร เช่น หน่วยงานทรัพยากรบุคคล (HR) หน่วยงานจัดซื้อจัดจ้าง หน่วยงานการขายและการตลาด หน่วยงานวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูล หน่วยงานเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นต้น

·       เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในผลของ พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 ต่อการบริหารจัดการงานของหน่วยงานในองค์กร และต่อการดำเนินงานขององค์กรในมุมของการบริหารความเสี่ยง

·       นำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงงานและเอกสารต่างๆ ของหน่วยงานในองค์กร ให้สอดคล้องตาม พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 ในมุมของการบริหารความเสี่ยง 

หัวข้อการอบรม

Module 1:สรุปภาพรวมของกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

PART1 :พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562 : PDPA (กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลPDPA)

-ความสำคัญ ที่มา และความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และความสัมพันธ์กับการบริหารความเสี่ยงด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศอ้างอิงจากมาตรฐานการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ ISO/IEC 27005:2018

-โครงสร้างของกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

-การใช้และการตีความกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

-หลักกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

·         ค่านิยามเฉพาะ เช่น ข้อมูลส่วนบุคคล ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล

·         ฐานประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล ทั้ง ประเภท

·         การเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคล : เจ้าของข้อมูลและแหล่งอื่น

·         การขอและการถอนความยินยอม : ผู้บรรลุนิติภาวะและผู้เยาว์

·         การใช้และเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล : ในประเทศไทยและต่างประเทศ

·         สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ทั้ง 8 ประเภท

·         หน้าที่ของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล : บันทึกกิจกรรมการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล

·         หน้าที่ของเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

·         สภาพบังคับ : ความรับผิดทางแพ่ง อาญา และปกครอง และบทกําหนดโทษ

PART2:แนวทางปฏิบัติขององค์กรสำหรับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

-ความเสี่ยงของข้อมูลส่วนบุคคล

-ผลกระทบต่อองค์กรและพนักงาน

- Three Lines of Defenseสำหรับการบริหารจัดการข้อมูลส่วนบุคคล

-ผู้ควบคุมข้อมูล - ผู้ประมวลผลข้อมูล (Data Controller - Data Processor)

-การเตรียมความพร้อมPDPAสำหรับองค์กร (PDPA Checklist)

-นโยบาย/ประกาศความเป็นส่วนตัว (Privacy Notice)

-หลักการขอความยินยอม (Consent)

-กระบวนการรองรับการใช้สิทธิของเจ้าของข้อมูล (Data Subject Right Request)

-การบันทึกกิจกรรมการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล (Record of Processing)

-การโอนข้อมูลไปยังต่างประเทศ (Data Transfer Across Border)

-ระยะเวลาการเก็บข้อมูลส่วนบุคคล (Data Retention)

-การจัดทำข้อมูลนิรนาม (Data Anonymization)

-การประเมินผลกระทบด้านการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data Protection Impact Assessment)

-การดำเนินการกรณีมีการละเมิดข้อมูลหรือข้อมูลรั่วไหล (Data Breach Response)

Module 2: กระบวนการขั้นตอนในการประเมินความเสี่ยงที่มีการพิจารณาเรื่องประโยชน์ของการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล (Risk Assessment from a Purposes Perspective)

1. กำหนดประโยชน์ของการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลให้ชัดเจน

2. กำหนดความเสี่ยงของการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล

3. ประเมินระดับความเสี่ยงของการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล

4. พิจารณาระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (Risk Appetite) โดยพิจารณาจากประโยชน์ที่เจ้าของข้อมูล (Data Subject) จะได้รับจากการประมวลผลข้อมูลเป็นหลักควบคู่กับความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการประมวลผลดังกล่าว พิจารณากำหนดความเสี่ยงที่ยอมรับได้ โดยไม่ให้เกิดผลกระทบร้ายแรงต่อองค์กร และในขณะเดียวกันไม่ให้เกิดผลกระทบต่อประโยชน์ของเจ้าของข้อมูลด้วยเช่นกัน การพิจารณาความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ยกตัวอย่าง เช่น ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk) ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risk) ความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risk) ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบและกฎหมาย (Compliance Risk) และ ความเสี่ยงด้านชื่อเสียง (Reputation Risk)

5. จัดการลดความเสี่ยงและพิจารณาความเสี่ยงที่หลงเหลืออยู่ (Residual Risk) ให้อยู่ในระดับที่ไม่เกินระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ โดยใช้หลัก การประสานผลประโยชน์ของเจ้าของข้อมูลและประโยชน์ขององค์กรในขณะที่องค์กรยังสามารถรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศและคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลไม่ให้เกิดผลกระทบจากการรั่วไหลของข้อมูลส่วนบุคคลจนนำไปสู่การร้องเรียน ฟ้องร้องของเจ้าของข้อมูล ซึ่งจะทำให้เกิดผลกระทบด้านการเงินและชื่อเสียงตามมา

Module 3: Check List ประเด็นสำคัญ ในการประเมินความเสี่ยงและการจัดการให้สอดคล้องกับกฎหมาย

1. เอกสารสำหรับไว้อ้างอิงเกี่ยวกับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

2. ผู้บริหาร และพนักงานในองค์กรมีความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายฉบับนี้

(การสร้างความตระหนักรู้และฝึกอบรม / Capacity Building and Awareness Raising)

3. การจัดตั้งคณะทำงาน PDPA ภายในหน่วยงาน (PDPA Working Team)และการแต่งตั้งบุคคลที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายฉบับนี้

4. รายละเอียดของนโยบายและแนวปฏิบัติของหน่วยงาน (Privacy Policy and Codes of Practice)ในเอกสารจะต้องระบุข้อมูลส่วนบุคคลที่สำคัญมีอะไรบ้าง และมีขอบเขตอย่างไร?

5. รายการของข้อมูลที่ทุกหน่วยงานต้องเกี่ยวข้อง จะต้องดำเนินการอย่างไร?

6. มีระบบเกี่ยวกับความปลอดภัยเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคลในการจัดเก็บข้อมูล

7. ประเด็นการขอความยินยอม

·       การบอกวัตถุประสงค์การเก็บ การใช้เข้าใจอย่างชัดเจน

·       การจัดทำแบบการขอความยินยอม (Consent form)

·       กรณีพนักงานเก่า ลูกค้าเก่า และคู่ค้าเก่า จะต้องปฏิบัติอย่างไร

·       กรณีพนักงานใหม่ลูกค้าใหม่และคู่ค้าใหม่จะต้องปฏิบัติอย่างไร

·       ข้อมูลอ่อนไหว (Sensitive Data)

8. กิจกรรมใหม่แต่จะต้องใช้ข้อมูลเดิม จะต้องปฏิบัติอย่างไร?

9. ข้อมูลที่จัดเก็บไว้หากมีเพิ่มเติมแก้ไขจะต้องมีขั้นตอนการดำเนินการอย่างไร?

10.การส่งข้อมูลส่วนบุคคล ไปยังหน่วยงาน จะต้องมีสัญญาอะไรบ้างที่เกี่ยวข้อง

11.การจัดทำข้อตกลงการประมวลผลในกรณีที่มีการจ้างผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล(Data Processing Agreement)

12.กรณีเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลเป็นชาวต่างชาติจะได้รับความคุ้มครองจากกฎหมายฉบับนี้หรือไม่

13.กรณีลูกค้า คู่ค้า Auditor มาตรวจเกี่ยวกับระบบการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลจะต้องปฏิบัติอย่างไร?

14.การกำหนดอายุการเก็บข้อมูลส่วนบุคคล จะใช้หลักเกณฑ์ใด

15.การละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลที่มีผลกระทบต่อสังคม จะต้องทำอย่างไร ฯลฯ

Module 4 :Workshop การสรุปผลประเมินและคำแนะนำในการจัดการ / ถาม-ตอบปัญหาและอภิปราย

ประโยชน์ที่จะได้รับของผู้เข้าอบรม

·       เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ นิยาม ความหมาย หลักการและสาระสำคัญของพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562

·       เพื่อสร้างความเข้าใจในกระบวนการเตรียมความพร้อมขององค์กร เพื่อให้สอดคล้องกับเงื่อนไขตามกฎหมายเพื่อการลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น เช่น การจัดทำนโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล การเก็บ ใช้ เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล กระบวนการเพื่อรองรับการใช้สิทธิของเจ้าของข้อมูล รวมถึงแนวทางปฏิบัติขององค์กรสำหรับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

·       เพื่อสามารถประเมินความเสี่ยง และบริหารความเสี่ยงเบื้องต้นเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล

รูปแบบการอบรม

·       บรรยายให้ความรู้ความเข้าใจเชิงลึก ตัวอย่าง / กรณีศึกษา

·       ถาม-ตอบ / อภิปราย ให้นำไปประยุกต์สู่การทำงานจริง

·       ให้คำปรึกษาในระหว่างการอบรม 

วิทยากร           ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤษณะ บุหลัน

·       ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาธุรกิจเชิงนวัตกรรมสู่นานาชาติ คณะบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

·       นายกสมาคมนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา

·       ที่ปรึกษาด้านการวางระบบบริหารความเสี่ยงให้กับบริษัทมหาชน อาทิ บริษัท ทีเคเอส เทคโนโลยีจำกัด มหาชน / บริษัท ทีบีเอสพี จำกัด มหาชน และอื่นๆ

·       ที่ปรึกษาและวิทยากรการบริหารความเสี่ยงในมิติของ พรบ.ข้อมูลส่วนบุคคลฯ

กำหนดการ     วันพฤหัสบดีที่ 8 มิถุนายน 2566  เวลา 09.00-16.00 น.
สถานที่          โรงแรม Rembrandt Hotel & Suites, Bangkok

ราคา/ท่าน

Vat 7%

ราคารวม Vat

หัก ณ
ที่จ่าย 3
%

ราคาหลังหัก
ณ ที่จ่าย

ราคาปกติ

4,000

280

4,280

120

4,160

สมาชิก,โอนก่อน สัปดาห์

3,700

259

3,959

111

3,848

3 ท่านขึ้นไป

3,400

238

3,638

102

3,536

5 ท่านขึ้นไป

3,000

210

3,210

90

3,120

หมายเหตุ    – ค่าลงทะเบียน รวมค่าเอกสารอาหาร เครื่องดื่ม น้ำชา กาแฟ
                 – ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมสัมมนาสามารถหักลดหย่อนภาษีได้ 200%   
กรุณาดาวน์โหลดหลักสูตรและใบลงทะเบียนที่นี่  หรือกรอกข้อมูลในแบบฟอร์มด้านล่างเพื่อลงทะเบียน


ผู้เข้าสัมมนา/ตำแหน่ง :  *
Name/Surname :  *
โทรศัพท์มือถือ :  *
ผู้เข้าสัมมนา/ตำแหน่ง :
Name/Surname :
โทรศัพท์มือถือ :
ผู้เข้าสัมมนา/ตำแหน่ง :
Name/Surname :
โทรศัพท์มือถือ :
ผู้เข้าสัมมนา/ตำแหน่ง :
Name/Surname :
โทรศัพท์มือถือ :
ผู้เข้าสัมมนา/ตำแหน่ง :
Name/Surname :
โทรศัพท์มือถือ :
ส่วนตัว/บริษัท : ในนามส่วนตัว
บริษัท/สถานประกอบการ
ชื่อบริษัท/สถานประกอบการ :
เลขประจำตัวผู้เสียภาษี :
กรุณาระบุ : สำนักงานใหญ่
สาขา
สาขาที่ :
ที่อยู่เพื่อออกใบเสร็จ :
ประเภทธุรกิจ :
ต้องการหักภาษี ณ ที่จ่ายหรือไม่ : ไม่ต้องการ
ต้องการ
เลือกธนาคารสำหรับการโอนเงิน : ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาเซียร์รังสิต เลขที่บัญชี 364-236239-5
ธนาคารกสิกรไทย สาขาฟิวเจอร์ พาร์ค รังสิต 2 เลขที่บัญชี 022-3-65013-9
ผู้ประสานงาน :  *
หมายเลขโทรศัพท์มือถือ :  *
โทรศัพท์ :  *
อีเมล์ :
ปัญหาที่ท่านต้องการทราบเป็นพิเศษในเรื่อง
ที่สมัคร :
แนบสลิป (ชือไฟล์เป็นภาษาอังกฤษ หรือตัวเลข :



หลักสูตรที่จัดฝึกอบรมและสัมมนา Public Training

11-12 ตุลาคม 2567...Canva Program and AI for Worksmart
14 ตุลาคม 2567...พัฒนาทักษะการคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ (Creative Thinking)
15 ตุลาคม 2567...การแก้ไขปัญหาและป้องกันการร้องเรียนจากลูกค้า (Solving preventing Customer complaints)
15 ตุลาคม 2567...การเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานด้วยหลัก 5Q (Increasing Performance with 5Q)
15 ตุลาคม 2567...การพัฒนาทักษะ "ผู้จัดการมือใหม่"
15 ตุลาคม 2567...เทคนิคและข้อควรระวังในการจัดทำงบการเงินอย่างมืออาชีพ
16 ตุลาคม 2567...การบริหารการผลิตยุคใหม่เพื่อเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุน
16 ตุลาคม 2567...ข้อกำหนดระบบ IATF 16949:2016 ระบบการบริหารคุณภาพสำหรับกลุ่มธุรกิจอุตสาหกรรมยานยนต์
16 ตุลาคม 2567...เทคนิคการทำสัญญาจ้าง “บุคลากร” เข้าทำงานในองค์กรทั้งระบบ กับผลกระทบทางด้านภาษีอากร
16 ตุลาคม 2567...เทคนิคการเขียนตารางควบคุมกรรมวิธีการผลิต Control Plan
17 ตุลาคม 2567...FMEA : การวิเคราะห์รูปแบบความเสียหายและผลกระทบ (AIAG-VDA 1st Edition)
17 ตุลาคม 2567...การบริหารความแตกต่างสู่การทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ (Diversity Management)
17 ตุลาคม 2567...หลักการสำคัญเพื่อการชำระภาษีศุลกากรได้อย่างมีประสิทธิภาพ (Important Rules for Efficient Payment of Customs Duty)
17 ตุลาคม 2567...การทำงานเป็นทีมสู่เป้าหมายแห่งความสำเร็จ (Team Collaboration for Goal)
17 ตุลาคม 2567...การจัดการคลังสินค้า-บริหารและควบคุมสต็อกยุค 5.0 (Warehousing-Inventory Management & Control for 5.0)
18 ตุลาคม 2567...เทคนิคทำงานร่วมกันกับคนทุก Gen ให้ประสบความสำเร็จ (Working with Different Generation Employee)
18 ตุลาคม 2567...ทักษะผู้นำยุคใหม่และการสร้างสุดยอดทีม (Leadership Skills & Team awareness)
18 ตุลาคม 2567...ทำแผนกลยุทธ์และงบประมาณ HR อย่างไรให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์องค์กร (Strategic HR Planning and Budgeting)
19 ตุลาคม 2567...แนวทางในการปฏิบัติงานคลังสินค้าในยุคปัจจุบันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
21 ตุลาคม 2567...การพัฒนาความเป็นผู้นำของหัวหน้างาน (Supervisor Leadership Development)
21 ตุลาคม 2567...Microsoft Excel Advanced
21 ตุลาคม 2567...เทคนิคปิดการขายสำหรับ Sales Engineer
21 ตุลาคม 2567...เทคนิคทำตารางทักษะการทำงาน (Skill Matrix) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน
22 ตุลาคม 2567...นำเสนอให้ปัง ด้วยศิลปะแห่ง Canva และ PowerPoint (Canva & PowerPoint for Success Presentation)
22 ตุลาคม 2567...เทคนิคการตรวจติดตามภายใน ISO 14001:2015 ตามระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม
22 ตุลาคม 2567....เทคนิคการสัมภาษณ์และคัดเลือกเพื่อให้ได้คน “เก่ง และ ดี” อย่างมืออาชีพ
22 ตุลาคม 2567...การนำเข้าและจ้างแรงงานต่างด้าว...อย่างถูกกฎหมายภายใต้ MOU.
22 ตุลาคม 2567...เทคนิคการแก้ปัญหาและตัดสินใจที่ใช่ให้กลายเป็นเรื่องง่าย (Problem Solving & Decision Making Skill in Action)
24 ตุลาคม 2567...ISO 45001:2018 Internal Audit เทคนิคการตรวจติดตามภายในระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
24 ตุลาคม 2567...การบำรุงรักษาเครื่องจักรด้วยตนเอง (Autonomous Maintenance)
25 ตุลาคม 2567...การออกแบบระบบประเมินค่างาน (ภาคปฏิบัติ) (Job Evaluation and Classification)
25 ตุลาคม 2567...ข้อตกลงการค้าระหว่างประเทศ INCOTERMS® 2020 และการกำหนดราคาศุลกากร (INCOTERMS® 2020 & CUSTOMS VALUATION)
25 ตุลาคม 2567...กลยุทธ์การพูดภาษาอังกฤษให้ตรงใจ (Strategies for Business English speaking)
26 ตุลาคม 2567...การจัดการการขนส่งอย่างมีประสิทธิภาพ (การวางแผน การจัดสายงานเพื่อการจัดส่งสินค้า)
28 ตุลาคม 2567...การแก้ปัญหา การตัดสินใจ และการจัดการความขัดแย้งในการทำงาน
28 ตุลาคม 2567...เทคนิคการทวงหนี้อย่างมีประสิทธิภาพ (สำหรับลูกหนี้การค้า)
29 ตุลาคม 2567...การควบคุมและการจัดการความปลอดภัยในคลังสินค้า (Warehouse Safety Management)
29 ตุลาคม 2567...การเขียนอีเมลและการสนทนาเป็นภาษาอังกฤษเชิงธุรกิจ (Email Writing and English Conversation For Business)
29 ตุลาคม 2567...การควบคุมเอกสาร Document Control ตามระบบ ISO 9001:2015 อย่างมีประสิทธิภาพ
30 ตุลาคม 2567...GHPs & HACCP System Revision 2022 Requirements and Interpretation (Version 6)
30 ตุลาคม 2567...การวางระบบมาตรฐานการจัดการสารปนเปื้อนในองค์กร ตามระเบียบข้อบังคับด้านวัสดุในผลิตภัณฑ์ (Products Material Regulatory) และการตีความข้อกำหนด Material Classification ในระบบรายงานข้อมูลวัสดุสากล (IMDS) ภาคปฏิบัติ
31 ตุลาคม 2567...การรายงานข้อมูลปริมาณคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ ในอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ อุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในรถยนต์ (Products Carbon Footprint (PCF) Reporting Automotive Industry and Electricity – Electronics
31 ตุลาคม 2567...เคล็ดลับสู่ความสำเร็จของ EMR มืออาชีพ กับระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001:2015
1 พฤศจิกายน 2567...เทคนิคการเขียน Quality Manual, Procedure, WI ตามระบบการบริหารคุณภาพ ISO 9001:2015
1 พฤศจิกายน 2567...ความปลอดภัยในการทำงานกับเครื่องจักร (Machine Safety)
4 พฤศจิกายน 2567...กลยุทธ์การขายเพื่อพิชิตเป้าหมาย (Sales strategies to achieve sales goals)
4 พฤศจิกายน 2567...Microsoft Excel Basic & Intermediate
4 พฤศจิกายน 2567...การวิเคราะห์และปรับปรุงประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรและการผลิต (Overall Equipment Effectiveness : OEE)
5 พฤศจิกายน 2567...กฎหมายศุลกากรที่เกี่ยวกับการนำเข้าและส่งออก และการเตรียมตัวเพื่อการตรวจสอบหลังการตรวจปล่อย
5 พฤศจิกายน 2567...เทคนิคการบริหารเวลาให้ใช้เวลาอย่างคุ้มค่าและสร้างมูลค่าเพิ่มในงาน
5 พฤศจิกายน 2567...40 ประเด็นกฎหมายแรงงานที่ผู้บริหารงานบุคคล (HR.) ต้องทำได้
6 พฤศจิกายน 2567...เทคนิคการใช้ Excel สำหรับงานธุรการ (Techniques Excel for administrators)
6 พฤศจิกายน 2567...Positive Thinking for Work Smart
6 พฤศจิกายน 2567...เครื่องมือในการวิเคราะห์ วางแผน และแก้ไขปัญหา (Tools for Analysis, Planning and Improvement)
6 พฤศจิกายน 2567...เตรียมความพร้อม...(ร่าง) พระราชบัญญัติวิชาชีพบริหารทรัพยากรบุคคล (HR) พร้อมสรุปวิเคราะห์สาระสำคัญกฎหมายอีก 2 ฉบับ ที่ HR ต้องเตรียมความพร้อม
6 พฤศจิกายน 2567...Design Thinking การคิดเชิงออกแบบเพื่อพัฒนาการทำงาน
6 พฤศจิกายน 2567....เทคนิคการตรวจนับสินค้าเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
7 พฤศจิกายน 2567...สร้างองค์กรที่เปิดรับความหลากหลายและสนับสนุนความเท่าเทียม เพื่อก้าวสู่ความสำเร็จที่ยั่งยืน (Diversity, Equity and Inclusion (DEI))
8 พฤศจิกายน 2567...การจัดทำแผนฉุกเฉิน (ฝ่ายบุคคล) อย่างมีประสิทธิภาพ
8 พฤศจิกายน 2567...การคิดวิเคราะห์เชิงตรรกะอย่างเป็นระบบเพื่อความสำเร็จในการทำงาน
8 พฤศจิกายน 2567...การจัดทำ Training Roadmap และ IDP พนักงาน ให้สอดคล้องกับบริบทขององค์กร (Training & IDP to drive The Company Objectives)
8 พฤศจิกายน 2567...การจัดทำระบบการควบคุมสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สำหรับการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ชิ้นส่วนไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์ (SOC, RoHS, REACH, SVHC, ELV, PFOS, PFOA, DMF)
9 พฤศจิกายน 2567...การจัดการคลังสินค้า-บริหารและควบคุมสต็อกยุค 5.0 (Warehousing-Inventory Management & Control for 5.0)
11 พฤศจิกายน 2567...การจัดทำและควบคุมเอกสารสำหรับ ISO ทุกระบบ Document Control for Any ISO
11 พฤศจิกายน 2567...การวิเคราะห์หาต้นตอของปัญหา (RCA : Root Cause Analysis)
11 พฤศจิกายน 2567...การ Update ข้อบังคับในการทำงานให้สอดคล้องกับกฎหมายใหม่และให้สอดคล้องกับสภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบัน
12 พฤศจิกายน 2567...ปลดล็อกศักยภาพด้วยตัวชี้วัดผลงานหลัก (KPI) : ก้าวสู่ความสำเร็จที่วัดผลได้
12 พฤศจิกายน 2567...การควบรวม (Integrated) ISO 9001:2015 กับ ISO 14001:2015 จากข้อกำหนดสู่แนวทางปฏิบัติ
12 พฤศจิกายน 2567...กลยุทธ์การเจรจาต่อรองแบบไม่เป็นรองอย่างมีชั้นเชิง (Tactics for Non-Secondary Negotiation Strategy)
12 พฤศจิกายน 2567...การบริหารจัดการทีมแบบมืออาชีพ (Professional Team Leaders)
12 พฤศจิกายน 2567...กลยุทธ์การบริหารค่าตอบแทนและสวัสดิการอย่างมีชั้นเชิง
13 พฤศจิกายน 2567...ข้อกำหนดระบบบริหารคุณภาพ IATF 16949:2016 (Requirement IATF16949:2016)
13 พฤศจิกายน 2567...ผู้นำการทำงานในยุคการเปลี่ยนแปลงดิจิทัล
13 พฤศจิกายน 2567...ภาษาอังกฤษในการทำงาน (Business English In Working Place)
13 พฤศจิกายน 2567...การควบรวมระบบ Internal Audit for Integrated ISO 9001:2015 & ISO 14001:2015
14 พฤศจิกายน 2567...10 ทักษะหัวหน้างานมืออาชีพ (10 Tools Professional Supervisor)
14 พฤศจิกายน 2567...เทคนิคการจัดประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร Management Review ตามระบบ ISO 9001:2015
14 พฤศจิกายน 2567...กระบวนการนำเข้า ส่งออก และพิธีการศุลกากร
14 พฤศจิกายน 2567...การวางแผนตรวจสอบภาษีแพทย์ โรงพยาบาล และคลีนิค
15 พฤศจิกายน 2567...Feedback and Coaching Skills: ศิลปะแห่งการให้ฟีดแบ็กและการโค้ช เพื่อยกระดับทีมสู่ความเป็นเลิศ
15 พฤศจิกายน 2567...พัฒนาบุคลิกภาพ เสริมสร้างภาพลักษณ์
15 พฤศจิกายน 2567...การวางแผนคุณภาพผลิตภัณฑ์ล่วงหน้าและกระบวนการยื่นอนุมัติชิ้นส่วนการผลิต (APQP & PPAP)
16 พฤศจิกายน 2567...การปฏิบัติงานในคลังสินค้าและการควบคุมสินค้า
16 พฤศจิกายน 2567...การบริหารโลจิสติกส์และกลยุทธ์สู่การลดต้นทุนทางธุรกิจเพื่อการแข่งขัน (Logistic Management 4.0)
18 พฤศจิกายน 2567...ทักษะการให้บริการเชิงรุกเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ให้บริการ
18 พฤศจิกายน 2567...การบัญชีต้นทุนและวิเคราะห์ต้นทุน (Cost Accounting & Cost Analysis)
19 พฤศจิกายน 2567...การวางแผน การมอบหมายงาน และการติดตามงานอย่างมีประสิทธิภาพ
19 พฤศจิกายน 2567...การวางแผนและการควบคุมการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ
19 พฤศจิกายน 2567...กลยุทธ์การสร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้า ตามระบบการบริหารคุณภาพ ISO 9001:2015
19 พฤศจิกายน 2567...การจัดการงานประจำวันสำหรับหัวหน้างาน (Daily Operation Management-DOM)
20 พฤศจิกายน 2567...การจัดทำเส้นทางความก้าวหน้าในอาชีพและสืบทอดตำแหน่งพนักงาน (Career path Management and Succession Planning)
20 พฤศจิกายน 2567...เลขานุการและผู้ช่วยผู้บริหารมืออาชีพสำหรับทุกองค์กร (Secretary and Executive Assistant For All Business)
20 พฤศจิกายน 2567...เทคนิคการตรวจติดตามคุณภาพภายใน IATF 16949:2016 (IATF 16949 : 2016 Internal Quality Audit Technique)
20 พฤศจิกายน 2567...กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า (Rules of Origin)
20 พฤศจิกายน 2567...ISO 45001:2018 Requirement ข้อกำหนดของระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
21 พฤศจิกายน 2567...เทคนิคการเจรจาทวงถามเพื่อเร่งรัดหนี้อย่างมีประสิทธิภาพ (Effective Collection Call)
21 พฤศจิกายน 2567...การพัฒนากรอบความคิดเพื่อพัฒนาศักยภาพการทำงาน (Growth Mindset for Growth Performance)
21 พฤศจิกายน 2567...ISO 45001: 2018 Internal Audit เทคนิคการตรวจติดตามภายใน ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
21 พฤศจิกายน 2567...การจัดการคลังสินค้า-บริหารและควบคุมสต็อกยุค 5.0 (Warehousing-Inventory Management & Control for 5.0)



Copyright © 2013 All Rights Reserved.