สัญญาจ้างแรงงาน / สัญญาจ้างบริการ / สัญญาจ้างเหมาค่าแรง / สัญญาจ้างเหมางาน / สัญญาจ้างทำของ
ตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ / กฎหมายคุ้มครองแรงงาน / ประมวลรัษฎากร
ในการบริหารองค์กรที่จำเป็นต้องมีการจ้าง “บุคลล” (Person) ทั้งภายในประเทศหรือต่างประเทศเข้ามาทำงาน การทำสัญญาจ้าง (Contract) ถือเป็นเรื่องสำคัญที่สุด เพราะถ้าไม่มีสัญญาก็จะอ้างเหตุถึงที่มาของการจ่ายค่าตอบแทนไม่ได้ ด้วยเหตุนี้ประเภทของสัญญาแต่ละชนิดจะมีข้อกำหนดของกฎหมายที่ควบคุมแตกต่างกันและความรับผิดในการเสียภาษีย่อมไม่เหมือนกัน ทั้งการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย การเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม การปิดอากรแสตมป์ทั้งต้นฉบับและคู่ฉบับตามประมวลรัษฎากร ดังนั้น การเลือกทำสัญญาจ้างที่เหมาะสมกับการบริหารองค์กรและการเสียภาษีที่ถูกต้องตามกฎหมาย ย่อมก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดและสามารถป้องกันความผิดพลาดจากการถูกตรวจสอบจากเจ้าหน้าที่รัฐ ทั้งเจ้าที่สรรพากรและเจ้าหน้าที่แรงงาน
หัวข้อการบรรยาย
1. ความหมายของสัญญาจ้างแรงงาน / สัญญาจ้างบริการ / สัญญาจ้างเหมาค่าแรง / สัญญาจ้างเหมางาน / และสัญญาจ้างทำของ
- ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
- ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 (ปรับปรุงล่าสุด พ.ศ.2561)
- ตามประมวลรัษฎากร
2. หลักเกณฑ์และหัวใจสำคัญของแต่ละประเภทสัญญา ได้แก่
- สัญญาจ้างแรงงาน
- สัญญาจ้างบริการ
- สัญญาจ้างเหมาค่าแรง
- สัญญาจ้างเหมางาน
- สัญญาจ้างทำของ
3. ข้อแตกต่างสำคัญระหว่างสัญญาจ้างแรงงาน / สัญญาจ้างบริการ / สัญญาจ้างเหมาค่าแรง / สัญญาจ้างเหมางาน / และสัญญาจ้างทำของ
4. การผิดสัญญาและการบังคับให้เป็นไปตามสัญญาแต่ละประเภท
5. ผลกระทบทางด้านภาระภาษีตามประมวลรัษฎากร
- ภาษีเงินได้ (Income Tax)
- ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย (Withholding Tax)
- ภาษีมูลค่าเพิ่ม (Value Added Tax)
- อากรแสตมป์ (Stamp Duty)
6. ปัญหาพิเศษเฉพาะ “สัญญาจ้างแรงงาน” ได้แก่
(1) ปัญหาความหมายของคำว่า “ค่าจ้าง” ตามกฎหมาย
(2) ปัญหาการให้ “สวัสดิการ” ที่คาบเกี่ยวกับการจ่ายค่าจ้าง
(3) ปัญหาการจัดทำ “ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน” ตามกฎหมาย
(4) ปัญหาการเลิกจ้าง / การลงโทษวินัย /การลาออก / การเกษียณอายุ
(5) ปัญหาการบริหารวันหยุด / วันลา
(6) ปัญหาการทำสัญญาทดลองงาน / การจ้างลูกจ้างชั่วคราว
(7) ปัญหาการเลือกปฏิบัติในการทำสัญญาจ้างลูกจ้างต่างด้าวกับลูกจ้างที่เป็นคนไทย
(8) ปัญหาการจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ / กองทุนประกันสังคม / กองทุนเงินทดแทน / กองทุนเงินกู้ยืมสำหรับพนักงาน
(9) ปัญหาเลิกจ้างไม่เป็นธรรมที่ต้องชดใช้ค่าเสียหาย
(10) ปัญหาการโอนย้ายพนักงาน / การยุบหน่วยงาน
7. การบริหารงานด้วยความชอบธรรม / มีคุณธรรม / และจริยธรรม
วิทยากร รองศาสตราจารย์เพิ่มบุญ แก้วเขียว
- อดีตอาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
- ที่ปรึกษากฎหมายธุรกิจและการวางแผนภาษีอากร
- วิทยากรด้านกฎหมายธุรกิจและการวางแผนภาษีอากร
- อาจารย์พิเศษด้านกฎหมายภาษีอากร
- ผู้เขียนหนังสือและบทความด้านกฎหมายธุรกิจและภาษีอากรลงวารสารต่างๆ
กำหนดการ วันพุธที่ 16 ตุลาคม 2567 เวลา 09.00-16.00 น.
สถานที่ โรงแรมเมอเวนพิค สุขุมวิท ซอย 15
ราคา/ท่าน
|
Vat 7%
|
ราคารวม Vat
|
หัก ณ
ที่จ่าย 3%
|
ราคาหลังหัก
ณ ที่จ่าย
|
ราคาปกติ
|
4,500
|
315
|
4,815
|
135
|
4,680
|
สมาชิก,โอนก่อน 1 สัปดาห์
|
4,000
|
280
|
4,280
|
120
|
4,160
|
3 ท่านขึ้นไป
|
3,500
|
245
|
3,745
|
105
|
3,640
|
หมายเหตุ - ค่าลงทะเบียนเข้าร่วมสัมมนาสามารถนำไปลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลได้ 200%
- ราคารวมเอกสารประกอบการสัมมนา, อาหารกลางวัน, น้ำชา-กาแฟ
กรุณาดาวน์โหลดหลักสูตรและใบลงทะเบียนที่นี่ l หรือกรอกข้อมูลในแบบฟอร์มด้านล่างเพื่อลงทะเบียน