การทำงานเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน แต่บางครั้งก็อาจเกิดเหตุการณ์ไม่คาดคิดที่ส่งผลกระทบต่อการทำงานและชีวิตของลูกจ้าง กองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง จึงถูกจัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นหลักประกันทางสังคมให้กับลูกจ้างทุกคน โดยเฉพาะในยามที่เผชิญกับปัญหาเกี่ยวข้องกับการทำงาน เช่น การถูกเลิกจ้างโดยไม่เป็นธรรม หรือการไม่ได้รับค่าจ้างตามสิทธิ์ที่พึงได้
พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 กำหนดให้มีกองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง ในกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เพื่อสงเคราะห์ลูกจ้าง กรณีออกจากงาน หรือตายหรือในกรณีอื่นที่กำหนดโดยคณะกรรมการกองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง
ดังนั้น การทำความเข้าใจกองทุนสงเคราะห์ลูกจ้างอย่างละเอียด ตลอดถึงข้อมูลสิทธิประโยชน์และวิธีการขอรับเงิน เพื่อให้ทุกคนมั่นใจได้ว่า สิทธิ์ของคุณจะไม่ถูกละเลย ตามกฎหมายกองทุนสงเคราะห์ที่จะบังคับใช้ วันที่ 1 ตุลาคม 2568
วัตถุประสงค์
เพื่อปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมายที่จะมีผลบังคับใช้ วันที่ 1 ตุลาคม 2568
หัวข้อสัมมนา
1. วัตถุประสงค์ความเป็นมาของกองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง
· ความเป็นมาของกองทุนเงินสงเคราะห์ลูกจ้าง
· หลักเกณฑ์การจ่ายเงินสงเคราะห์ตามระเบียบที่กำหนด
· เมื่อใดลูกจ้างมีสิทธิยื่นขอรับเงินสงเคราะห์
2. สถานประกอบการใดบ้างที่ต้องส่ง หรือไม่ต้องส่งเงินสมทบกองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง และมีหลักเกณ์อย่างไร
3. พระราชกฤษฎีกากำหนดระยะเวลาเริ่มดำเนินการจัดเก็บเงินสะสมและเงินสมทบกองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง พ.ศ. 2567
4. (ร่าง) กฎกระทรวงกำหนดอัตราเงินสะสมและเงินสมทบกองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง พ.ศ. ....
· ผู้จ่ายเงินสมทบและเงินสะสม คือใคร
· อัตราเงินสะสมและเงินสมทบ เป็นอัตราเท่าไหร่ และจะมีแนวทางการปรับอัตราเพิ่มขึ้นหรือไม่อย่างไร
· กำหนดระยะเวลาในการเริ่ม ใช้อัตราเงินสะสมและเงินสมทบ
5. (ร่าง) กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการจัดการสงเคราะห์แก่ลูกจ้างในกรณีที่ลูกจ้างออกจากงานหรือตาย พ.ศ....
· การกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการจ่ายเงินสงเคราะห์จะต้องมีรายละเอียดอะไรบ้าง? และจะต้องจัดทำเป็น ลายลักษณ์อักษรหรือไม่
· นายจ้างจัดทำบัญชีเงินฝากกองทุนสงเคราะห์ จะต้องจัดทำบัญชีอย่างไร?
· กรณีลูกจ้างเสียชีวิต จะต้องดำเนินการอย่างไร ใคร? จะเป็นผู้ที่จะได้รับเงินกองทุนสงเคระห์ลูกจ้าง
6. กฎหมายลำดับรอง 6 ฉบับ ที่เกี่ยวข้องกับกองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง
7. ศึกษาเปรียบเทียบ “กองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง” กับ “กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ”
· ที่มาและความสำคัญ ของทั้งสองกองทุน
· จำนวนลูกจ้างเท่าไหร่ จะต้องจัดตั้งกองทุน
· อัตราการจ่ายเงินสมทบของนายจ้างและลูกจ้างอัตราเท่าไหร่
· ความแตกต่างระหว่าง กระบวนการขั้นตอนการนำส่งเงินสมทบเข้ากองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง กับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
· ผู้บริหารจัดการกองทุน คือใคร
· การจัดการบัญชีกองทุน จะต้องดำเนินการอย่างไร
· แนวทางการบริหารและการลงทุนของกองทุน
· การจ่ายเงินกองทุนกรณีลูกจ้างสิ้นสุดสัญญาจ้างงาน
· บทกำหนดโทษ กรณีไม่ปฏิบัติตามกฎหมายกองทุน
8. กรณีกิจการที่ยังไม่มีการจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ จะมีข้อพิจารณาอย่างไร ระหว่างการจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
· การเข้ากองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง
· การจัดการสงเคราะห์แก่ลูกจ้างในกรณีที่ลูกจ้างออกจากงานหรือตาย พ.ศ....
9. กรณีบริษัทมีการจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ แต่ลูกจ้างจำนวนหนึ่งไม่ได้เข้าเป็นสมาชิกกองทุน จะมีหลักปฏิบัติอย่างไร และกิจการจะสามารถกำหนดให้ลูกจ้างที่ยังไม่เป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพจะต้องเข้าเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพได้หรือไม่
10. กองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง จะมีกำหนดเกณฑ์สิทธิรับเงินสมทบและผลประโยชน์ของเงินสมทบตามระยะเวลาการทำงานเหมือนหรือต่างกับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพหรือไม่
11. คำพิพากษาคดีแรงงานเกี่ยวกับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
12. บทวิเคราะห์กองทุนสงเคราะห์ลูกจ้างมีผลบังคับใช้
13. กฎกระทรวงที่ 394 เกี่ยวกับการยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสำหรับค่าชดเชยที่ลูกจ้างได้รับจากนายจ้างกรณีถูกเลิกจ้าง (บังคับใช้ 17 กรกฎาคม 2567 มีผลย้อนหลัง ปี 2566)
ระยะเวลา : หลักสูตร 1 วัน (6 ชั่วโมง)
เทคนิคการฝึกอบรม บรรยาย ยกกรณีตัวอย่าง
วิทยากรในการฝึกอบรม อาจารย์อภิชาติ ปริยานนท์
ที่ปรึกษาบริหารงานบุคคล, กฎหมายแรงงาน และทนายความ
การศึกษา
ปริญญาตรี กฎหมาย มหาวิทยาลัย รามคำแหง, กรุงเทพมหานคร
ปริญญาโท การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัย บูรพา, บางแสน ชลบุรี
ประสบการณ์การทำงาน
· อดีตผู้พิพากษาสมทบฝ่ายนายจ้าง ศาลแรงงานภาค 2
· อดีตผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคล บริษัท เดลฟาย ออโตโมทีฟ (ประเทศไทย) จำกัด
· อดีตผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคล บริษัท ออโตลีฟ (ประเทศไทย) จำกัด
· อดีตผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคล บริษัท เจเนอรัล ซิททิ่ง จำกัด
· อดีตผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคล บริษัท โซนี่ เซมิ คอนดักเตอร์ (ประเทศไทย) จำกัด
· อดีตผู้จัดการทั่วไป ฝ่ายทรัพยากรบุคคล บริษัท โลจิสติก อัลลายแอนซ์ (ประเทศไทย) จำกัด
· อดีตผู้จัดการทั่วไป ฝ่ายทรัพยากรบุคคล บริษัท บริดสโตน เอ็นซีอาร์ (ประเทศไทย) จำกัด
กำหนดการ วันอังคารที่ 4 มีนาคม 2568
สถานที่ โรงแรมเมอเวนพิค สุขุมวิท 15
ราคา/ท่าน
|
Vat 7%
|
ราคารวม Vat
|
หัก ณ
ที่จ่าย 3%
|
ราคาหลังหัก
ณ ที่จ่าย
|
ราคาปกติ
|
4,000
|
280
|
4,280
|
120
|
4,160
|
สมาชิก,โอนก่อน 1 สัปดาห์
|
3,700
|
259
|
3,959
|
111
|
3,848
|
3 ท่านขึ้นไป
|
3,400
|
238
|
3,638
|
102
|
3,536
|
5 ท่านขึ้นไป
|
3,000
|
210
|
3,210
|
90
|
3,120
|
หมายเหตุ – ค่าลงทะเบียน รวมค่าเอกสาร, อาหาร เครื่องดื่ม น้ำชา กาแฟ
– ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมสัมมนาสามารถหักลดหย่อนภาษีได้ 200%
กรุณาดาวน์โหลดหลักสูตรและใบลงทะเบียนที่นี่ l หรือกรอกข้อมูลในแบบฟอร์มด้านล่างเพื่อลงทะเบียน