มาตรฐานการจัดการคุณภาพในอุสาหกรรมยานยนต์ของยุโรป ผู้ผลิตยานยนต์ประเทศเยอรมนี ได้นำ VDA 6.3 มาใช้การตรวจประเมินผู้ส่งมอบในระดับต่างๆ (Tier I, Tier II....) และคาดหวังให้ผู้ส่งมอบได้นำ VDA 6.3 มาตรวจประเมินตนเองและตรวจประเมินผู้ส่งมอบในระดับถัดไปด้วยเช่นกัน VDA 6.3 คือ การตรวจประเมิน Process Audit ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติว่าเป็นระบบการตรวจประเมินหน้างานที่ดีที่สุด เกณฑ์การตรวจประเมิน VDA เน้นที่คุณภาพของผลิตภัณฑ์และกระบวนการ เน้นที่ความสามารถด้านการผลิตของผลิตภัณฑ์และกระบวนการ เน้นที่ความเหมาะสมของกระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ และหัวใจสำคัญคือความเสี่ยงที่จะทำให้เกิด NC และความล้มเหลว หรือทำให้เกิดปัญหาในการใช้งาน ดังนั้นองค์กรใดที่คาดหวังระบบการตรวจประเมินหน้างานที่มีประสิทธิภาพสูงสุด และเป็นองค์กรที่ให้ความสำคัญกับของเสียสูงสุด ควรประยุกต์ใช้มาตรฐาน VDA 6.3 นี้เป็นอย่างยิ่ง
VDA 6.3 เป็นกระบวนการตรวจประเมินกระบวนการอ้างอิงจากมาตรฐานสำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ที่มาจากเยอรมัน ใช้ในการตรวจประเมินกระบวนการทั้งผลิตและบริการ โดยมีกระบวนการและรายการตรวจประเมินตามกระบวนการที่กำหนดขึ้น เพื่อให้มั่นใจว่ากระบวนการดำเนินการอย่างถูกต้องและสอดคล้องกับความต้องการของมาตรฐาน จึงจำเป็นที่ทีมงานผู้ตรวจประเมินต้องมีความรู้ ทักษะในการดำเนินการอย่างเพียงพอ ทำให้ระบบได้รับการทวนสอบ นำไปสู่การปรับปรุงผลิตภัณฑ์ และกระบวนการผลิตอย่างต่อเนื่อง
วัตถุประสงค์ในการฝึกอบรม
1. เพื่อเรียนรู้ และเข้าใจหลักการพื้นฐานทั่วไป สำหรับผู้ตรวจประเมินกระบวนการ VDA 6.3
2. เพื่อให้สามารถมีทักษะการตรวจประเมินพื้นฐานตามหลักการใน VDA 6.3
3. เพื่อให้ทราบถึงคุณสมบัติสำหรับการนำการตรวจสอบกระบวนการภายในและภายนอกตลอดวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์
4. สามารถดำเนินการตรวจประเมิน และตัดสินผลการตรวจประเมินได้หัวข้อฝึกอบรม
เนื้อหาหลักสูตร
1. การตรวจประเมินเชิงกระบวนการสำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ (Automotive Process Approach Audit)
2. ความเชื่อมโยง IATF16949 กับ VDA 6.3
3. วงจรการตรวจประเมิน และภาพรวมโครงสร้างข้อกำหนด VDA 6.3
4. การวเคราะห์กระบวนการด้วยแผนภูมิเต่า Turtle Diagram
5. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกระบวนการสำหรับการวิเคราะห์ความเสี่ยง
6. คุณสมบัติสำหรับการเป็น VDA 6.3 Process Auditor
7. กระบวนการตรวจประเมิน
8. การประเมินเบื้องต้น ด้วยชุดคำถาม P1
9. วิธีการตรวจประเมิน และการใช้แบบฟอร์มการตรวจประเมิน
10. ระบบการประเมินให้คะแนน และกฎการ down grade, การรายงานผล
11. เกณฑ์การตรวจ P2. Project Management
12. เกณฑ์การตรวจ P3. Planning the product and process management
13. เกณฑ์การตรวจ P4. Implementation of the product and process development
14. เกณฑ์การตรวจ P5. Supplier management
15. เกณฑ์การตรวจ P6. Process analysis / Production
16. เกณฑ์การตรวจ P7. Customer care / Customer satisfaction / Service
17. ระบบการประเมินให้คะแนนและ กฎการ down grade, การรายงานผล
18. ปัญหา ข้อบกพร่อง ที่พบในการตรวจประเมิน และประเด็นระหว่างการตรวจโดย CB
ลักษณะการอบรม
1. การบรรยายสื่อสาร 2 ทาง โดยทฤษฎี 40 % กิจกรรม 40 %
2. VDO 20 %
ระยะเวลา หลักสูตร 1 วัน (6 ชั่วโมง)
วิทยากรฝึกอบรม อาจารย์อนันต์ ภูพันคำ ที่ปรึกษาอิสระ
ที่ปรึกษา
· ระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001
· ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001
· ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ISO 45001
· ระบบการจัดการคุณภาพด้านอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ IATF 16949
· เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต Lean Manufacturing, TPM, 5ส, Kaizen
· เทคนิคการควบคุมคุณภาพ QCC, Six sigma
กำหนดการ วันพฤหัสบดีที่ 3 ตุลาคม 2567 เวลา 09.00-16.00 น.
สถานที่ โรงแรมเมอเวนพิค สุขุมวิท 15 กรุงเทพฯ
ราคา/ท่าน
|
Vat 7%
|
ราคารวม Vat
|
หัก ณ
ที่จ่าย 3%
|
ราคาหลังหัก
ณ ที่จ่าย
|
ราคาปกติ
|
4,000
|
280
|
4,280
|
120
|
4,160
|
สมาชิก,โอนก่อน 1 สัปดาห์
|
3,700
|
259
|
3,959
|
111
|
3,848
|
3 ท่านขึ้นไป
|
3,400
|
238
|
3,638
|
102
|
3,536
|
5 ท่านขึ้นไป
|
3,000
|
210
|
3,210
|
90
|
3,120
|
กรุณาดาวน์โหลดหลักสูตรและใบลงทะเบียนที่นี่ หรือกรอกข้อมูลในแบบฟอร์มด้านล่างเพื่อลงทะเบียน