สาระสำคัญในการอบรม
การบริหารจัดการความเสี่ยงในการทำธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ ความเสี่ยงการชำระเงิน ความเสี่ยงของคู่ค้า ฯลฯ เป็นความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นได้ทุกโอกาส หากผู้ประกอบการธุรกิจขาดความระมัดระวังในการประกอบธุรกิจการค้ากับคู่ค้าต่างประเทศ ดังนั้นผู้ประกอบการ ผู้บริหาร รวมทั้งพนักงานในองค์กรฯ ต้องมีความรู้ ความเข้าใจเพื่อการกำหนดแนวทางในการบริหารความเสี่ยง พร้อมการปรับปรุงกระบวนการทำงานเพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในการทำธุรกรรมระหว่างประเทศ พร้อมกับการปรับปรุงการทำงานเพื่อการรองรับความเสี่ยง และการป้องกันความเสี่ยงที่อาจส่งผลกระทบกับการประกอบธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ และเพิ่มประสิทธิภาพในการประกอบธุรกิจฯ ขององค์กรให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น
หัวข้อสัมมนา
1. ความหมาย และขั้นตอนการประกอบธุรกิจการค้าต่างประเทศ
2. ข้อควรระวังในการจัดทำเอกสารใบเสนอราคา/สัญญาซื้อขาย – Proforma Invoice – Purchase Order – Sale Contract – Quotation
3. ความรู้เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ
· ความหมายของการประกอบธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ
· การให้บริการด้านการค้าระหว่างประเทศของธนาคารพาณิชย์
4. การบริหารความเสี่ยง และเครื่องมือป้องกันความเสี่ยงในการทำธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ
· วิธีทำการค้าที่เหมาะสมเพื่อลดความเสี่ยงในการทำธุรกิจการค้าฯ
· การทำการค้ากับประเทศที่มีความเสี่ยงคืออะไร (Country Risk)
· วิธีป้องกันความเสี่ยงกับธนาคารต่างประเทศ (Bank Risk)
· การป้องกันความเสี่ยงกับคู่ค้า (Counterparty Risk)
· การใช้เงื่อนไขการขนส่งสินค้าที่ถูกต้องเพื่อป้องกันความเสี่ยงในการส่งมอบสินค้าให้คู่ค้า(Incoterms® 2020)
· การตรวจสอบคุณภาพสินค้า
· การป้องกันการฉ้อโกงในการชำระเงินค่าสินค้า
· กฎระเบียบ และมาตรการกีดกันทางการค้า
· การป้องกันความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย และอัตราแลกเปลี่ยน
5. ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในแต่ละรูปแบบของการชำระเงินในการค้าระหว่างประเทศ (Risks of Payment)
· การเรียกเก็บเงินแบบ Pre-Payment by T/T (Advance of Payment)
· การเรียกเก็บเงินแบบ Post-Payment by T/T (Open Account)
· การเรียกเก็บเงินตามเอกสารการส่งออกผ่านธนาคาร (Bills for Collection) และกฎระเบียบในการส่งตั๋วไปเรียก
· เก็บตามข้อกำหนดของสภาหอการค้านานาชาติ (Uniform Rules for Collection No.522)
· การชำระเงินภายใต้ Letter of Credit ข้อกำหนด และเงื่อนไขที่ต้องปฏิบัติของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ตามหลักเกณฑ์ของสภาหอการค้านานาชาติ (International Chamber of Commerce-ICC)
6. การตรวจสอบเงื่อนไข และความเสี่ยง ใน Letter of Credit
7. ข้อควรระวัง และแนวทางการแก้ไขเอกสารที่มีข้อผิดพลาด Discrepancies
8. ประเภทและชนิดต่างๆ ของ Letter of Credit ความหมาย และความสำคัญในการใช้ L/C แต่ละชนิดเพื่อความเข้าใจและการปฏิบัติที่ถูกต้อง
· Red Clause Letter of Credit
· Transferable Letter of Credit
· Back to Back Letter of Credit
· Revolving Letter of Credit
· Standby Letter of Credit
9. ข้อตกลงการส่งมอบสินค้าระหว่างประเทศในปัจจุบัน (Incoterms®2020) ภายใต้ข้อกำหนดของสภาหอการค้านานาชาติ (International Chamber of Commerce-ICC)
· ความสำคัญของ Incoterms®2020 ในการกำหนดเงื่อนในการส่งมอบสินค้าระหว่างประเทศ
· การจัดเตรียมเอกสารระหว่างผู้ขายและผู้ซื้อตามกฎเกณฑ์ของ Incoterms®2020
· เทคนิคการเลือกใช้ Incoterms®2020 ให้เหมาะสมกับการเจรจาการซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ
10. กรณีศึกษาคำพิพากษาศาลฎีกาคดีการส่งมอบสินค้าระหว่างประเทศ
วิทยากรผู้บรรยาย : อาจารย์มนตรี ยุวชาติ
อดีตเจ้าหน้าที่ผู้บริหารจาก บมจ.ธนาคารกรุงเทพ สำนักงานใหญ่ ผู้มีประสบการณ์งานด้านธุรกิจส่งออก และนำเข้ามากกว่า 40 ปี เคยรับผิดชอบงานกำกับดูแลธุรกิจส่งออก และนำเข้า
ปัจจุบัน: ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยประนีประนอมคดีการค้าระหว่างประเทศในศาลทรัพย์สินทางปัญญา และการค้าระหว่างประเทศกลาง)
กำหนดการ วันอังคารที่ 25 มีนาคม 2568 เวลา 09.00-16.00 น.
สถานที่ โรงแรมเมอเวนพิค สุขุมวิท ซอย 15
ราคา/ท่าน
|
Vat 7%
|
ราคารวม Vat
|
หัก ณ
ที่จ่าย 3%
|
ราคาหลังหัก
ณ ที่จ่าย
|
ราคาปกติ
|
4,000
|
280
|
4,280
|
120
|
4,160
|
สมาชิก,โอนก่อน 1 สัปดาห์
|
3,700
|
259
|
3,959
|
111
|
3,848
|
3 ท่านขึ้นไป
|
3,400
|
238
|
3,638
|
102
|
3,536
|
5 ท่านขึ้นไป
|
3,000
|
210
|
3,210
|
90
|
3,120
|
หมายเหตุ - ค่าลงทะเบียนเข้าร่วมสัมมนาสามารถนำไปลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลได้ 200%
- ราคารวมเอกสารประกอบการสัมมนา, อาหารกลางวัน, น้ำชา-กาแฟ
กรุณาดาวน์โหลดหลักสูตรและใบลงทะเบียนที่นี่ หรือกรอกข้อมูลในแบบฟอร์มด้านล่างเพื่อลงทะเบียน